ปฏิบัติธรรมแบบเจริญสติต่อเนื่อง ๗ วัน ๗ คืน ที่ Colombiere center
หลักสูตรการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ด้วยการเจริญสติต่อเนื่อง ๗ วัน ๗ คืน
At Colombiere Center, Clarkton Michigan
บทเรียนที่ ๑ การเดินจงกรม
๑. การเดินจงกรม ๖ ระยะ
จังหวะที่ 1 ขวาย่างหนอ- ซ้ายย่างหนอ
จังหวะที่ 2 ยกหนอ - เหยียบหนอ
จังหวะที่ 3 ยกหนอ - ย่างหนอ - เหยียบหนอ
จังหวะที่ 4 ยกส้นหนอ - ยกหนอ - ย่างหนอ - เหยียบหนอ
จังหวะที่ 5 ยกส้นหนอ - ยกหนอ - ย่างหนอ –ลงหนอ - เหยียบหนอ
จังหวะที่ 6 ยกส้นหนอ - ยกหนอ - ย่างหนอ –ลงหนอ - เหยียบหนอ- กดหนอ
2. การเดินประคองถือแก้วน้ำ - ให้เดินรอบเดียว
3. การเดินเกาะข้างฝาหรือขอบโต๊ะ เพื่อประคองสติกับสมาธิให้สมดุลย์กัน-ให้เดิน เที่ยวเดียว
4. การเดินโดยไม่เกาะให้ประคองสติโดยการเคลื่อนไหวช้ามาก ๆให้สติทันกับอิริยาบถที่เคลื่อนไหน-เดินจนครบเวลาที่กำหนด
บทเรียนที่ ๒ การนั่งสมาธิด้วยความเจริญสติต่อเนื่อง
๑. การนั่งสมาธิทำจังหวะพลิกยกมือ 102 ครั้ง กำหนดให้ทำ 2 รอบ
๒. การนั่งสมาธิกำหนดนับอาการพอง – ยุบ 100 ครั้ง กำหนดให้ทำ 2 รอบ
๓. การนั่งสมาธิให้มือทาบที่หน้าอกนับดูอาการไหวขึ้น-ลง 100 ครั้ง กำหนดให้ทำ 2 รอบ
๔. การนั่งสมาธิดูลมหายใจที่สัมผัสบริเวณช่อ จมูก กำหนดนับ 100 ครั้ง กำหนดให้ทำ 2 รอบ
บทเรียนที่ ๓ การเจริญสติต่อเนื่องในอิริยาบถนอน
๑. การนอนหงายกับพื้นราบ ทำจังหวะพลิกยกมือ ให้ทำ 102 ครั้ง ให้ทำ ๑ รอบ
๒. การวางมือที่หน้าท้องกำหนดพอง-ยุบ ให้ทำ ๑๐๐ ครั้ง ให้ทำ ๑ รอบ
๓. การวางมือทาบไว้ที่หน้าอกกำหนดอาการเคลื่อนไหวของหน้าอก ให้กำหนดนับ ๑๐๐ ครั้ง ให้ทำ ๑ รอบ
๔. การกำหนดลมหายใจเข้าออกที่ช่องจมูก ให้กำหนด ๑๐๐ ครั้ง ให้ทำ ๑ รอบ
เมื่อวันที่ ๑๑ ตุลาคม ๒๕๕๒ ข้าพเจ้าได้มีโอกาสเข้าปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานด้วยตนเอง กับอาจารย์ไตรพิตรา(ตุ๊ก)ผู้มีประสบการณ์ด้านการสอนวิปัสสนากรรมฐานตามแนวมหาสติปัฎฐาน ซึ่งมีเทคนิกและวิธีการสอนที่แปลก และกำหนด พื้นที่ และเวลาเฉพาะ จะต้องเป็นการปฏิบัติให้ห้องเดี่ยวตามลำพัง งดการพูดคุย และกำหนดสติตลอดเวลาแห่งการปฏิบัติ
เวลา 5:30 pm. เดินทางมาถึง Colombiere Center เป็นสถานที่กำหนดจะเข้าเจริญสติปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ๗ วัน ๗ คืน โดยการเจริญสติต่อเนื่องในห้องเดี่ยว งดการพูดคุยสนทนา ปฏิบัติตามแนวมหาสติปัฎฐานอย่างเคร่งครัด
การปฏิบัติในครั้งนี้มีเพื่อนกัลยาณมิตรอีกสองท่าน คือ คุณขวัญตา และคุณพิทย์ ๒พี่น้องจากชิคาโก ได้อธิษฐานจิตที่จะเข้ากรรมฐานบำเพ็ญเพียรอย่างต่อเนื่องตลอด ๗วัน ในครั้งนี้ด้วย
เมื่อเข้าไปติดต่อกับเจ้าหน้าที่ฝ่ายต้อนรับ Reception แล้วได้เข้าพักที่ห้อง 646 { Jesuit only }เป็นห้องเดี่ยวมีเครื่องอำนวยสะดวกเหมาะสำหรับการปฏิบัติที่ต้องการความเงียบและเป็นส่วนตัว ซึ่งเป็นส่วนของบรรดาบาทหลวงที่มีอายุแล้วมาพักที่นี่ ซึ่งสถานที่ตรงนี้เป็นสถานที่ฝึกสอนบรรดานักสอนศาสนาในนิกายโรมันแคทอลิค แต่ปัจจุบันเนื่องจากมีจำนวนบาทหลวงลดลง จึงได้จัดให้เป็นสถานที่ให้คนมาเช่าทำกิจกรรม ทั้งการประชุม การสัมมนา และอบรมบุคลากรขององค์กรต่าง ๆ ซึ่งรวมทั้งเป็นสถานที่ให้คนมาเช่าจัดปฏิบัติธรรมได้ เพราะมีเครื่องอำนวยความสะดวกพร้อม มีห้องประชุม ห้องจัดงานเลี้ยง ห้องบรรยาย และห้องพักที่มีทั้งห้องเดียว และห้องเตียงคู่ไว้เป็นจำนวนมาก และห้องอาหารไว้บริการ โดยไม่ต้องเดือดร้อนกังวลเรื่องอาหารและที่พัก
จากนั้นได้เดินสำรวจห้องต่างๆที่เกี่ยวข้องทั้งชั้นล่างและชั้นบน บริเวณ Lobby คือชั้นที่ ๓ เดินตรงเข้ามาจากประตูหน้าจะเป็น Reception เหมือนโรงแรมชั้นหนึ่ง จากนั้นเดินตรงเข้าไปจะเป็น Dining Room ซึ่งจุคนได้หลายร้อยคน เป็น Cafeteria มีอาหารแบบ Buffett ให้เลือกได้ตามชอบใจ เนื่องจากวันนี้เดินทางเข้ามาเกินเวลาเสริมอาหาร Dining Room ปิดไปแล้วจึงได้แต่สำรวจไปเฉยๆ พอเดินเข้าไปที่ห้องอาหารโต๊ะท้ายสุดจะมีป้ายบอก Silent Retreat only คือเป็นโต๊ะที่จองเอาไว้ให้คณะของพวกเราสำหรับผู้เข้าปฏิบัติ จากนั้นเดินไปดูห้องสำหรับสอบอารมณ์ Retreatant Lounge และมีป้ายบอกที่หน้าห้องด้วย Silent Retreat ซึ่งเป็นห้องไม่ใหญ่นัก มีโซฟาตั้งอยู่ 6 ตัว ทั้งแบบคู่และแบบเดี่ยว เป็นที่นั่งคุยกันแบบสบายๆสอบอารมณ์ของผู้ปฏิบัติและอาจารย์ผู้ให้กรรมฐาน ห้องนี้ก็จะรวมกับค่าห้องที่ได้ตกลงกันไว้แล้วว่าเราจะใช้ห้องไหนกันบ้าง โดยไม่มีใครมารบกวนเวลาของพวกเราขณะปฏิบัติ
เวลา 7:00 p.m. ได้เวลานัดพบกันที่ Retreatant Lounge อาจารย์สอนได้ทดสอบโดยการให้บทเรียนเบื้องต้นโดยการให้เดินจงกรมให้ดู เสร็จแล้วบอกว่ายังไม่มีความชัดเจน ดังนั้นจึงได้ให้
บทเรียนที่ 1 ให้เดินจงกรม 6 ระยะ โดยรอบที่ 1 จังหวะที่ 1 กลับ จังหวะ 2 ไป จังหวะที่ 3 กลับมา จังหวะที่ 4 ไป จังหวะที่ 5 มา จังหวะที่ 6 จนจบ
บทเรียนที่ 2 ให้เดินถือแก้วน้ำประคองไว้ในมือให้เดินจงกรมจังหวะ 1 โดยให้น้ำในแก้วไหวติงน้อยที่สุด เป็นการประคองสติให้สมดุลย์กับสมาธิ
บทเรียนที่ 3 ให้เดินจงกรมเกาะข้างฝา หรือขอบโต๊ะโดยให้เท้าเคลื่อนไหวช้าๆและชัดที่สุด
บทเรียนที่ 4 ให้เดินจงกรมโดยไม่ต้องเกาะ ให้เดินช้าๆและชัดในอารมณ์ที่สุด
1. จากนั้นให้ไปนั่งสมาธิ ทำพลิกยกมือสร้างจังหวะ 1 พลิก 2 ยก 3 เคลื่อน 4 ลง 5 ถูก 6 คว่ำที่หัวเข่า กำหนดให้ทำข้างละ 50 ครั้ง รวมเป็น 102 ครั้ง
2. จากนั้นนั่งกำหนด พอง-ยุบ เอามือแตะที่ท้องเหนือสะดือ ให้กำหนดนับ พอง 1 ยุบ 2 ให้ได้ 100 ครั้ง
3. จากนั้นเอามือไปทาบที่หน้าอก แล้วหายใจลึกยาว นับการหายใจเข้า 1 หายใจออก 2 ให้ครบ 100 ครั้ง
4. ให้กำหนดนับลมหายใจสัมผัสจมูก หายใจเข้านับ 1 หายใจออก นับ 2 ให้ได้ 100 ครั้ง
ให้ทำอย่างนี้ ๒ รอบ ๘๐๔ ครั้ง ใช้เวลาประมาณ ๓๕ นาที
การปฏิบัติโดยกำหนดในอิริยาบถนอน โดยให้นอนราบกับพื้น ทำจังหวะพลิกยกมือ เหมือนอิริยาบถนั่งให้ครบ 102 ครั้ง ให้มือจับที่บริเวณหน้าท้อง กำหนดนับพอง-ยุบ จนครบ 100 ครั้ง เอามือทาบที่หน้าอก กำหนดนับให้ได้ 100 ครั้ง และกำหนดลมหายใจที่สัมผัสจมูก 100 ครั้ง จากนั้นจึงให้นอนพักผ่อนได้
สะท้อนธรรมก่อนนอน
เมื่อนักฝึกจิตทำสมาธิให้แน่วแน่ เป็นอารมณ์หนึ่งแล้ว จะมองเห็นกิเลสในจิตของตนเอง ทุกกาลทุกเวลาว่า มีกิเลสหยาบและละเอียดหนาบางขนาดไหนเกิดขึ้นที่จิต เกิดจากเหตุอะไร และจะต้องชำระด้วยวิธีอย่างไร จิตจึงบริสุทธิ์ผ่องใส ค้นหากิเลสของตนเองอยู่ทุกเมื่อ กิเลสจะหมดสิ้นไป การฝึกหัดสมาธิภาวนา คือ การตั้งสติอันเดียว ให้รู้ตัวอยู่เสมอ มันคิดมันนึกอะไร ก็ให้รู้ตัวอยู่เสมอ ยิ่งรู้ตัวชัดเจนเข้ามันยิ่งเป็น เอกัคคตารมณ์ นั่นแหละตัวสมาธิ รู้สิ่งอื่นไม่สามารถจะชำระจิตของตนได้ รู้จิตของเรานี่แหละจึงจะเป็นไปเพื่อความบริสุทธิ์ (อ่านต่อฉบับหน้า)
DAY THREE SILENT MEDITATION RETREAT
October 13, 2009 (I felt bored.)
I woke up to the alarm clock at 3.30 am. When I knew I was awake, I observed in detail my actions in the present moment before I slowly pulled myself up by turning my left side onto the bed. I gradually put my feet on the floor. When the feet touched the floor, I felt it all in my entire body. I knew before-hand, that I would walk to turn on the light switch, not just walk to it automatically, as I used to. Also I planned before I walked to the bathroom to brush my teeth and wash my face and I always realized what I was doing. After the bathroom routine, I walked back to the bedroom and set an area for walking meditation. It was about 14 steps long from the end of the bed to one end of the wall. I intended not to say “Left walking, Right walking” or other Samatha words. It was only about the mindfulness. Each step was slow but precise. There were no other thoughts involved. I could feel the clear relaxation of the mind. When each foot touched the floor, I could feel it in my entire body in the present moment. Nothing came to my mind. The moving foot was as light as walking on the cotton. No pressure at all. The walking was purely about mindfulness and concentration. Tanha or cravings and Moha or delusion could not come close. It was the moving of Rupa Dhamma and Nama Dhamma only. This mindful walking meditation, done with the awareness of the present moment, lasting 45 minutes.
I then switched to sitting meditation to observe the breaths at the nostrils at the small area just above the upper lip. I exercised mindfulness with every breath. I let go of everything and stayed in the present moment.
I found that the best time to do the sitting meditation was around 5.30 – 6.00 am. The mind could be tamed easily. It was still clear and free from impurities, because we just woke up. Sometimes only Sanya or memory would come across the mind but that was very easy to get rid of during this early morning time. The most important thing was that we could stop the feelings before they started to come to the mind. This could be “Jod Sapawa Dhamma”, which I felt many times during my 45 minutes of walking and sitting meditation. Later on, I went for breakfast.
At 7.15 am. while I was on my way to the dining room, I did the walking meditation. I used the stairs instead of the elevator. By observing my own big actions of left and right walking, I always stayed in the present moment. For the smaller actions such as head turning or looking to someone or something, I just acknowledged that there was somebody walking past me, without glancing or greeting him/her as usual. Fortunately, people here already knew that we were in the Silent Retreat program because I put a sign “Silent Retreatant” on my robe. Therefore, it was fine to ignore them when we met.
I walked carefully into the dining room. I then took a plate, a spoon, a fork and some napkins. I put 3 serving spoons of oatmeal, then ham, fried egg and a piece of toast on my plate. Then I walked to get the orange juice and a coffee cup for my hot boiled medication that I brought myself. Fruits varied day to day from bananas to grapefruits. I took half grapefruit and walked carefully to my table without looking at other tables which were occupied by priests and the Center’s staff. I reached the last table with the sign “Silent Retreat Only”. This was the table exclusively reserved for us. I started contemplating on the food (Yata Pajjayung) and began to drink the juice. I tasted the sourness in my mouth and on my tongue, which caused a large amount of saliva production from both sides of the inner cheeks. This was to feel Vedana (feelings) through the tongue. Later I tasted the saltiness of the ham and the sweetness of the oatmeal. When I first put the food into my mouth, I would let it stay there for a moment to taste it before using the tongue to move the food to the left side of the jaw teeth (I am right handed). Then I chewed with mindfulness and knew when the teeth got on the food. I also counted how many times I chewed, which, as it turned out, took me about 9-11 times before the food became smooth enough to swallow.
When the food went through the esophagus, I felt the warmth and the hardness of the solidity passing down to my stomach. Then I put a new spoon of food into my mouth and closed my eyes. I repeated the process over and over again until I finished my breakfast. By concentrating on the eating process, the mind was fully occupied and could not take in other outside emotions. When the mind got used to this inner emotion training, it would be fast to concentrate. This was a good thing, when you were to be by yourself doing Vipassana Meditation, which corresponded well with the Buddha’s teaching of Maha Satipatthana Sutta.
Morning Practice
After finishing my breakfast, I met Ajahn for the interview at the Retreatant Lounge to share with her my experience, progress, or difficulties I had during my practice.
I told her about the walking meditation I did after I got her advice from the interview the day before, showed her my walking but still she said it was not precise. The preciseness was needed to balance mindfulness and concentration. Therefore, I had to go back to practice the walking meditation again with one hand holding to the wall. These 20 steps I made were consistent and very slow, with the slow and small movement of my feet. The mind was up to the speed and the movement of the feet. The mind and the body were balanced. I felt so clear and empty which I knew it was “Jod Sapawa Dhamma”. It meant that Sati was fast enough to detect Citti (mind). Sati knew that the thoughts were coming to the mind so it stopped the thoughts before they could reach the mind. I felt this many times. I thought that “Why didn’t I continue my thinking? I knew before it came to my mind and was able to stop it.” I continued this walking meditation until I completed 45 minutes. Then I went back to sitting meditation, observing the rise and fall of the abdomen. The result was satisfying because I could get rid of the sleepiness. I spent time equally for practicing sitting and walking meditation this time.
Evening practice
I was bored. Maybe I was too tired from too much practice and I needed some rest. However, I still tried practicing both walking and sitting, but walking could not last long because my feet hurt. So I continued with only sitting meditation on a chair. It was consistent and I got good concentration. I did it until 10 pm. before I went to sleep.